The Definitive Guide to สังคมผู้สูงอายุ
The Definitive Guide to สังคมผู้สูงอายุ
Blog Article
การประชุมระดับชาติ “ประชากรและสังคม”
“จริงๆ รัฐบาลก็มีแผนแม่บทรองรับไว้บ้างแล้ว เพียงแต่เรื่องนี้ต้องอาศัยกลไกการทำงานเชิงบูรณาการ ทั้งนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และอีกหลายๆ มิติ ซึ่งสำหรับเมืองไทย เมื่อไรก็ตามที่ต้องการการทำงานร่วมกันแบบนี้ ก็มักจะไปได้ค่อนข้างช้า” รศ.ดร.นพพล กล่าวย้ำ
ช่างชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย
“อายิโนะโมะโต๊ะ”เปลี่ยนผ่านธุรกิจสู่สังคมผู้บริโภคอย่างยั่งยืน ลุยอาหาร-ผลิตภัณฑ์สุขภาพ-จัดการขยะอาหาร
โดยเฉพาะในส่วนงบประมาณการรักษาและฟื้นฟูร่างกายจากอาการเจ็บป่วย เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนอกจากชุมชนและครอบครัวต้องปรับตัวแล้ว นโยบายที่มีคุณภาพของภาครัฐก็เป็นสิ่งจำเป็นในการบริหารจัดการให้ประเทศเข้าสู่โอกาสใหม่ของเศรษฐกิจอายุวัฒน์ และได้รับประโยชน์จากการเป็นสังคมสูงวัยที่มีสุขภาพที่ดีื ทั้งกายและใจ
คำตอบคือสวัสดิการรัฐ หรือ เพิ่มแรงจูงใจให้มีบุตร?
หากตลาดไม่สามารถเติบโตตามธรรมชาติได้ทัน นั่นหมายความว่าตลาดต้องได้รับการกระตุ้นจากรัฐ เช่น การให้แรงจูงใจทางด้านภาษี ที่มากกว่าปกติสำหรับผู้ที่สนใจลงทุนในธุรกิจเพื่อผู้สูงอายุ หรือการให้เงินส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านการพยาบาลผู้สูงอายุให้เพียงพอ รวมไปถึงการสร้างกระบวนการเยียวยาให้แก่บุคลากรเหล่านี้ เนื่องจาก งานดูแลผู้สูงอายุไม่ใช่งานง่ายที่ใครๆ ก็ทำได้ เป็นต้น
โครงการการเตรียมความพร้อมของชุมชนกึ่งเมืองเพื่อรองรับสังคมสูงวัย: กรณีศึกษาชุมชนตำบลบุ่งหวาย สังคมผู้สูงอายุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุน เลขานุการสถาบันฯ
“ตัวอย่างเช่น ถ้าเรามองว่าคุณภาพของผู้สูงวัยจะดีขึ้นหากได้ทำงาน รัฐก็ต้องออกกฎหมายอนุญาตให้ว่าจ้างผู้สูงอายุทำงานได้ พร้อมแรงจูงใจด้านการลดหย่อนภาษี คำถามจึงตกอยู่ที่ภาคเอกชนว่าพร้อมเพียงใดที่จะรับผู้สูงอายุเข้าทำงาน แล้วภาครัฐเองจะช่วยเหลือทุกฝ่ายอย่างไร” รศ.ดร.นพพล กล่าวทิ้งท้าย
ประกาศ สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เรื่อง รายชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติเข้ารับการคัดเลือกเป็นผู้อำนวยการสำนักงาน สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
ส่วนประเทศที่มีความสุขและมีอัตราภาษีสูงที่สุดในโลกอย่างฟินแลนด์ ก็ใช้เงินภาษีที่เก็บได้มาพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีให้ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งยังปรับโครงสร้างเมืองให้เอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพราะต้องการให้กลุ่มคนเหล่านี้ยังคงมีส่วนร่วมในสังคม เช่นเดียวกับโครเอเชีย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่เตรียมความพร้อมและมีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยวสูงวัยอย่างยอดเยี่ยม
สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้กำหนดนโยบายและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำงานร่วมกันในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเพื่อปฏิรูปนโยบาย และแนวคิดเพื่อรับมือกับความท้าทายที่ต้องเผชิญ พร้อมกับพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีของผู้สูงอายุ
จากโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ชีวิตของผู้สูงวัยไทยในวันนี้และวันหน้าจะเป็นอย่างไร คนไทยและสังคมไทยเตรียมความพร้อมไว้แค่ไหน อะไรคือสิ่งที่ทุกฝ่ายควรเตรียมความคิดและลงมือทำ รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตในมุม “เศรษฐศาสตร์” เพื่อให้ทุกฝ่ายทั้งภาคประชาชน เอกชน และรัฐ เตรียมการรับมือผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตในบั้นปลายของทุกคนที่กำลังจะเป็นผู้สูงวัยในวันหน้า